ตามรอยบาทพระรัตนตรัย: จังหวัดสุกานดาย่า  Surkhandarya Region, Republic of  Uzbekistan

 

The Afghanistan–Uzbekistan Friendship Bridge is a road and rail bridge across the river Amu Darya, connecting the town of Hairatan in the northern Balkh province of Afghanistan with Termez in the Surxondaryo Region of Uzbekistan. The bridge was built by the Soviet Union and opened in 1982 to supply its forces who were based in Afghanistan at the time. It is used today for trade and travel purposes between the two countries Surkhandarya Region,Republic of Uzbekistan

สะพานมิตรภาพอุซเบกิสถาน-อัฟกานิสถาน เป็นถนนและสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำ Amu Darya เชื่อมระหว่างเมือง Hairatan ในจังหวัด Balkh ทางตอนเหนือของอัฟกานิสถานกับ Termez ในภูมิภาค Surxondaryo ของอุซเบกิสถาน สะพานนี้สร้างโดยสหภาพโซเวียตและเปิดใช้ในปี 2525 เพื่อส่งกำลังบำรุงซึ่งมีฐานอยู่ในอัฟกานิสถานในขณะนั้น ปัจจุบันมีการใช้เพื่อการค้าและการเดินทางระหว่างสองประเทศ

ชายแดนเขตติดต่อเป็สามเหลี่ยม มรดกทางพระพุทธศาสนาเอเชียกลางปัจจุบัน 

สธารณรัฐอุซเบกิสถาน: จังหวัดสุคันดาร์ย่า ตั้งอยู่ภาคไต้ ชายแดนเชื่อมมีสพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำอมูดา่ร์ย่า  เชื่อมต่อ อัฟกานิสถาน ทางขวาคือสาธารณรัฐ เติร์กเมนิสถาน ทางซ้ายคือสาธารณรัฐ ทาจิกีสถาน

หลังจากหลับไหลภายใต้ปฐพีเป็นเวลายาวนาน  ๙๐๐ ปี ใต้ผืนทรายอันกว้างไกลเวิ้งว้างของทวีปเอเชียกลาง ประเทศอุซเบกิสถาน เคยเป็นแผ่นดินผู้ทรงธรรม อดีตแค้วน Bactria and Kushan  ศูนย์กลางบนเส้นทางสายไหมทั้งการทหาร-ค้าขาย-การปกครองฯ  พระมหากษัตริย์ทั้ง๒ ราชวงศ์ คือ เมนันเดอร์(พระเจ้ามิลินทร์ แห่ง อินโด-กรีก)และพระเจ้ากนิษกะ ราชวงศ์กุษาณะ อารยธรรมอันเก่าแก่เจริญรุ่งเรื่องของพระพุทธศาสนาก็ได้กลับมาอวดโฉมสู่สายตาชาวโลกอีกครั้ง

The Unique Greatest sited in the past ..แผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่เริ่มต้น

 ประเทศอุซเบกีสถาน ตั้งอยู่ระหว่างท่ามกลางอาณาเขตติดกับ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน ในเอเชียกลาง(CIS Country) แลประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ มีสภาพภูมิประเทศอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน พื้นที่ทางตอนใต้ คือบริเวณหุบเขาและลุ่มแม่น้ำอมูดาร์ย่า (Amudarya Or Oxus River )  เป็นพื้นที่ผืนเดียวกันกับอัฟกานิสถานภาคเหนือ หรือบริเวณแคว้นแบคเตรีย (Bactria)เทือกเขาฮินดูกูส เขตติดต่อเดียวกันกับเอเชียกลาง

ประมาณ 326 ปีก่อน ค.ศ. เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great) กษัตริย์กรีก แห่งมาเซโดเนีย (Macedonia) ได้ยกกองทัพมายึดครองอาณาจักรเปอร์เซียในสมัยพระเจ้าดาริอุสที่ 3 และตั้งกองทัพกรีกไว้ที่แคว้นแบคเตรีย ริมฝั่งแม่น้ำอ๊อกซุส( อมูดาร์ย่า ปัจจุบัน) แคว้นแบคเตรีย Bactria.เป็นแผ่นดินเดียวกันกับเอเชียกลาง
และต่อมาราว 330  ปีก่อน ค.ศ. กองทัพของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์จากแบคเตรียได้ข้ามภูเขาฮินดูกูษมายึดครองพื้นที่บริเวณลุ่มแม่น้ำคาบูล แล้วข้ามแม่น้ำสินธุมายึดครองเมืองตักศิลา และภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียถึงแคว้นปัญจาบ กองทัพของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ไม่ยอมยกทับเดินทางต่อเนื่องจากแม่ทับนายกองใม่ชำนาญพื้นที่ไม่คุ้นเคยกับสภาพแว้ดล้อมต่างๆ

 @.คริสต์ศตวรรษที่ 19 มีนักภูมิศาสตร์ชาวยุโรปเข้าไปสำรวจสภาพภูมิประเทศในเอเชียกลางและอัฟกานิสถาน มีการขุดค้นพบโบราณสถาน-โบราณวัตถุที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจํานวนมากบริเวณหุบเขา และลุ่มแม่น้ำคาบูล (Kabul Valley) โดยได้พบเหรียญแบบกรีกและประติมากรรมที่เกี่ยวพันธ์ตืตต่อเนื่องในพระพุทธศาสนา ที่เป็นผลงานสร้างของช่างสกุลคันธาระ (ค.ศ. 100-700) ซึ่งเป็นสกุลแรกเริ่มก่อการสร้างประติมากรรมรูปเหมือนแทนพระโคตมะเป็นพระพุทธรูปเคารพตัวแทนเสมือนคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเคารพสักการะบูชาภายใต้การอุปถัมภ์ค้ำชูส่งเสริมของกษัตริย์ราชวงศ์เมนั้นเดอร์และกุษาณะของประเทศอินเดีย

++ในช่วงระยะเวลานั้นยังไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆ เกี่ยวกับการเปิดเผยเรื่องราวในอดีตอันรุ่งเรืองของเอเชียกลาง เนื่องจากสถานภาพอยู่ในสภาวไม่สงบความคิดต่างจากการปกครองชวงชิงอำนาจชาวเอเชียกลางเองไม่ชอบเสวนาคบค้ากับชาวต่างชาติมากนัก ไม่มีนโยบายเปิดประเทศไม่ยอมรับเทคโนโลยีกการสื่สารคมนาคมประเพณีวัฒนธรรมต่างถิ่นต่างแดนเข้ามา

++จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักโบราณคดีชาวรัสเชียและผู้มีความสามารถชำนาญการคือ นายแอล ไอ. อัลบาัม (L I Albau,) และคณะได้รับอนุญาตจากรัฐบาลอุซเบกีสถานให้ทำการขุดค้นทางโบราณคดีได้ในปี ค.ศ. 1968-77 จึงทำให้ชาวโลกได้รู้เรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมโบราณในอุซเบกีสถาน

 

                                      

                                                                 พระพุทธรัตนตรัย: องค์แรกของโลก- พระพุทธรูปปางประทับนั่งรัตนตรัย-ภายใต้โพธิสมภารบัลลังก์
                                           สมณโคดมเป็นเอกลักษณ์ ประทับตรงกลางเป็นองค์ประธานขพระธรรม-พระสงฆ์ซ้าย-ขวาเป็นสัญลักษณ์ แกะสลักด้วยหินอ่อนเศวตศิล า
                                                                                                               สร้าง CE.1-3 พ.ศ ๕๐๐-๗๐๐

ต้นกำเนิดการสร้างพระพุทธรูป:

*พระพุทธรูป หรือ พระพุทธปฏิมากร คือ รูปเปรียบต่างแทน หรือ รูปสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นพระศาสดาแห่งพุทธศาสนา สร้างตามลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ ในมหาปุริสลักษณะ มิใช่การทำให้เหมือน  องค์พระพุทธเจ้า 

*แต่สร้างขึ้นเพื่อน้อมรำลึกถึง    พระพุทธคุณและเพื่อสักการะบูชาแทน-   เพื่อน้อมใจให้ประพฤติตามคำสอนของพระองค์    ตราบใดยังปรากฏพระพุทธรูปอยู่   หมายถึงว่า "พระรัตนตรัย" อันเป็นหลักสำคัญของพระพุทธศาสนายังคงอยู่บริบูรณ์ เป็นเครื่องสร้างศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชนทั่วไปให้เลื่อมใสอุปถัมภ์บำรุงพุทธ ศาสนาสืบไป

พระเจ้าเมนั้นเมดอร์แห่งกริกผู้ให้กำเนิดพระพุทธรูป ครั้งแรกโดยช่างสกุลกรีกโบราณเป็นต้นแบบของการสร้างถูกต้องและสอดคล้องกับพุทธลักษณะดูสง่างามชวนให้เกิดความเคารพ.ต่อมาราชวงศ์กุษาณะมีพระเจ้ากนิษกะเป็นประมุขสืบสานสร้างต่อโดยช่างสกุลคันธาระ มีมากหลายบางต่าง ๆ ยืน-เดิน-นั่ง-นอนทั้้ง เล็กและใหญ่เป็นต่างแทนคำสอนเพื่อรำลึกและสักการะเคารพกราบไหว้พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องในแค้วนฺแบคเทียและคูชาน Bactria & Kushan

#.ภาคเหนือของแคว้น ปัจจุบันเมืองเก่าเทอร์เมสชายฝั่งแม่น้ำอมูดาร์ย่า สร้างวัดเป็นเอกลักษณ์ของพระองค์ พร้อมทั้ง “รัตนตรัย” แกะสลักด้วยหืนอ่อนสัดส่วนสมบูรณ์ครบองค์ประดิษฐานอยู่บนระหว่างหน้าบันเสาคอรินธีนมี สมณโคดมประทับนั่งใต้โพธิสมภารบัลลังก์อยู่ตรงกลาง-พระธรรม-พระสงฆ์เป็นสัญลักษณ์ของเอกลักษณ์แห่งความเคารพและศรัทธาของพระพุทธศาสนาไว้เป็นพุทธบูชาถวายพระนามว่า  “พระรัตนตรัย

๑.พระเจ้ากนิษกะ ทำสังฆายนาครั้งที่๔เพื่อเผยแผ่คำสอนให้เข้ากับยุคของกาลเวลา และสร้างโบสถ์ วิหาร ไว้ทั่วอาณาจักร อนุรักษ์รักษาศรัทธาไว้ด้วยความเชื่อต้นแบบดั้งเดิม-(เถรวาท-พระพุทธ-พระธรรม-พระสงฆ์)เป็นเอกลักษณ์ มีหลักฐานระบุว่าขุดค้นพบครั้งแรก 1967-2510 ที่เมืองเก่าเตอร์เมส.Termez.ภาคใต้สุดชายแดนติดต่ออัฟการนิสถาน ระหว่างเทือกเขาฮินดูกูส-มีแม่น้ำอมูดาร์ย่า เป็นศูนย์กลางเส้นทางสายไหม่-หลังจากหลับไหลใต้ผืนพิภพกลางทะเลทรายอันห่างไกลจากป้อมปราการมามากกว่า 900ปี  ด้วย อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ ๓ ก็ปรากฏขึ้น.

 ..อิทธิปาฏิหาริย์ พ.ศ 2510 ปรากฏการณ์เกิดขึ้นให้เด็กเลี้ยงแกะ( Absad Beknaev )พบเห็นสิ้นส่วนก่อสร้างที่เป็นส่วนสำคัญงดงามเป็นประกายแสงอยู่ท้ามกลางทะเลทรายเกิดความสงสัยบันดาลใจนำสิ่งพบเห็นมาแจ้งต่อเจ้าหน้าที่บ้านมือง

 ..อาเทศนาปาฏิหาริย์ ค.ศ.1977-1988 นักโบราณคดี L.I Albaum พร้อมคณะได้สำรวจขุดค้นตามชายฝั่งแม่น้ำอมูดาร์ย่า ตามบันทึกของพระ ถังซ้มจั๋ง” ที่นี้ “มีวัดเป็นร้อย-มีพระเป็นพัน” พบเนินทราย ห่างจากป้อมปราการทางทิศตะวันออก ๓ กม.เมื่อขุดค้นก็พบสิ่งปลูกสร้าง คือวัด ฟายาฌ เป็นวัดสำคัญในแผ่นดินเกิดของพระองค์ปรากฏเป็นพยานต่อสายตาชาวโลก จนถึงปัจจุบัน

 ..อนุสาสนีปาฏิหาริย์: ค.ศ 2000-2004.UNESCO และรัฐบาลอุซเบกิสถาน พร้อมด้วยกองทุนสนับสนุน จากประเทศญี่ปุ่นและนักโบราณคดีชำนาญทั่วโลกเข้าศึกษาและยอมรับเป็นโบราณสถานและวัตถุทรงคุณค่านี้คือ เมืองที่ศูนย์หายตามปรากฏทางประวัติศาสตร์ก็ปรากฏพบแล้วได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ เป็นปฐมบทประกาศเป็นมรดกโลกตามที่ปรากฏตามข่าวภาพมาตลอด ฯ

 

n

 

Visitors: 5,045